วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

มะละกอฮอลแลนด์ อายุครบ 1 เดือน



ช่วงนี้ฝนไม่ตก มาประมาณอาทิตย์หนึ่งแล้วคะ  จึงต้องรดน้ำโดยการเอาน้ำเข้าทางร่อง รดน้ำตามอีกครั้ง และใส่ปุ๋ยบัวทิพย์ผสม ไตรโคโดม่า และสังเกตุอาการมี ไวรัสอยู่จำนวนไม่น้อยเหมือนกัน ต้องถอนมาเผา จากการสังเกตเห็นมีพวก เพลี้ย อยู่กับหญ้าจะต้องทำการพ่นน้ำส้มควันไม้ เย็นวันนี้ และอีกวิธีที่จะต้องทำคือ  ใช้ พูมิชซัลเฟอร์  ประมาณ 3 ไร่ ก็ใช้อยู่ 6 กระสอบเพื่อป้องกันอีกทาง เป็นสำคัญ

การใช้ พูมิชซัลเฟอร์ (ชนิดเม็ด) ป้องกัน โวรัสวงแหวน

ทางที่ดี ทางเดียว สำหรับ ป้องกันโรค ไวรัสวงแหวนสำหรับมะละกอ



รายละเีอียด:
ZEO PLATINUM พูมิชซัลเฟอร์ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแแพ้หนาวและร้อน แก้พืชซีด เขียวตองอ่อน แก้พืชโตช้า ฯลฯ
กระสอบสีแดง PH.4.5 ใช้ในการปรับปรุงสภาพดินแก้ดินด่างตั้งแต่ ph 7 ขึ้นไป กระสอบเหลืองใช้แก้ดินกรด PH.6.5

ขนาดบรรจุ 20 กิโลกรัม/กระสอบ
         1. ส่วนประกอบ ประกอบด้วยหินแร่ภูเขาไฟ ซีโอไลท์ 50%  ซัลเฟต 7% แคลเซียม 12% ฟอสฟอริกแอซิด 0.20% แมกนีเซียม 0.01% เหล็ก 0.01% สังกะสี 0.005% pH 6.5 ที่เหลือเป็นวัตถุปุ๋ย
          2. วิธีการใช้ ใช้รองก้นหลุม คลุกดินก้นหลุมก่อนปลูก โรยรอบโคนต้น โรยเป็นแถวข้างต้น หว่านบนดินไถ หว่านหลังแล้วปลูก ผสมคลุกเคล้ากับปุ๋ยเคมีหว่านไปพร้อมกัน โรยบนดินในกระถางปลูกไม้ผลหรือไม้กระถาง
          3. ผลของการใช้ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน (ในเนื้อพูมิชซัลเฟอร์) แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแพ้หนาวและร้อน (จากสังกะสี) แก้พืชซีด เขียงตองอ่อน (แก้โดยแมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี กำมะถัน) แก้พืชโตช้า (แก้โดยแคลเซียมช่วยการแบ่งเซลล์, ซัลเฟตช่วยสร้างกรดอมิโน แอซิด) ฯลฯ
          4. ผลดีในไม้ผล จะช่วย ลดโรคและแมลง, ระบบรากดี, เนื้อแน่นสีสวย, กลิ่นดี, เนื้อกรอบอร่อยขึ้น และลดไส้ซึม แฉะ เป็นปลาร้า ในไม้ผลบางชนิด
          5. ในพืชผัก ลดโรคและแมลงศัตรูผัก, รากมากโตเร็ว, ใบสีเขียวสด, กรอบอร่อย, หลังเก็บเกี่ยวจากแปลงปลูกจะเก็บผักไว้ได้ทนนานไม่เหี่ยวง่าย, ยกเกรดผักที่ส่งขาย
          6. ผลดีในพืชหัวต่าง ๆ เช่น ขนาดของหัวใหญ่ขึ้นเพราะดินร่วนซุย, เก็บน้ำสำรองในดินมากขึ้น, แร่ธาตุปุ๋ยมากขึ้น เห็ดรามัยคอร์ไรซ่าทำงานดีขึ้น, ช่วยให้หัวมันเจริญเติบโตดี, พูมิชซัลเฟอร์ช่วยให้ใบอยู่ติดต้นนานสร้างอาหารได้มากขึ้น
          7. ในอ้อยและข้าวโพด ช่วยให้ใบตั้งรับแดดดี เปลือกและลำต้นแข็ง ลดโรคและแมลงได้ดี เพิ่มซีซีเอสในน้ำอ้อย ผลผลิตรวมเพิ่มเพราะรากออกรอบข้อได้ดีมากและลงลึก ดูดปุ๋ยและน้ำได้มาก
          8. ปาล์ม ยาง ไม้ผล ไม้ยืนต้น ดินซึมน้ำได้ดี พืชแข็งแรง มีผลผลิตดีขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ
          9. ไม้ดอกไม้ประดับ ลดโรคแมลง ก้านดอกก้านใบแข็งแรงทนทาน ทนต่อการขนส่ง ไม้ดอก-ไม้ใบมีดอกและใบสีเข้มสวย
          10. พืชไร่ ไถพรวนเบาแรงเพราะดินซุย โรคแมลงน้อย ต้นทุนการผลิตน้อย ผลผลิตเพิ่มขึ้น
          11. ไม้กระถาง ดินร่วนซุย น้ำไม่ขัง ลดโรค แมลง ไม่ต้องเปลี่ยนดินบ่อย
          12. ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ รากลึก ยาว รากมาก ผลผลิตสูงทุกด้าน
          13. เครื่องเทศสมุนไพร เนื้อยาเพิ่มขึ้น ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น
อัตราการใช้
          ใช้ภูพูมิชซัลเฟอร์หว่านรองพื้นใช้อัตรา 40-80 กิโลกรัม/ไร่ แล้วไถกลบ ในกรณีที่ใช้พูมิชซัลเฟอร์ปรับปรุง pH ดินก่อนปลูกพืช ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า pH ที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชทุกชนิดอยู่ที่ pH ระหว่าง 5.8-6.5 ที่ระดับค่า pH ที่กล่าวมานี้พืชสามารถดูดลำเลียงธาตุอาหารไม่ว่าจะเป็นธาตุอาหารหลัก, ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม (จุลธาตุ) ที่พืชต้องการไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินตรึงธาตุอาหารไว้ โดยทำการตรวจ pH ดินในพื้นที่หรือแปลงเพาะปลูกว่าอยู่ที่ระดับ pH เท่าไหร่ ถ้า pH ต่ำกว่า 5.8 ให้ใช้หินฟอสเฟต (ร็อคฟอสเฟต) ปรับเพิ่มค่า pH ขึ้นมา แต่ถ้าตรวจแล้ว pH สูงกว่า 6.5 ไม่มากนัก ก็ให้ใช้พูมิชซัลเฟอร์กระสอบเหลือง pH 6.5 ปรับลงมา แต่ถ้า pH สูงมาก คือสูงกว่า 8.0 ให้ใช้ ภูไมท์ซัลเฟตกระสอบแดง pH 4.5 ปรับปรุงให้ค่า pH ลดต่ำลงมาอยู่ในระดับพอเหมาะกับการเพาะปลูก
รายละเีอียด:
ZEO PLATINUM พูมิชซัลเฟอร์ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแแพ้หนาวและร้อน แก้พืชซีด เขียวตองอ่อน แก้พืชโตช้า ฯลฯ
กระสอบสีแดง PH.4.5 ใช้ในการปรับปรุงสภาพดินแก้ดินด่างตั้งแต่ ph 7 ขึ้นไป กระสอบเหลืองใช้แก้ดินกรด PH.6.5

ขนาดบรรจุ 20 กิโลกรัม/กระสอบ
         1. ส่วนประกอบ ประกอบด้วยหินแร่ภูเขาไฟ ซีโอไลท์ 50%  ซัลเฟต 7% แคลเซียม 12% ฟอสฟอริกแอซิด 0.20% แมกนีเซียม 0.01% เหล็ก 0.01% สังกะสี 0.005% pH 6.5 ที่เหลือเป็นวัตถุปุ๋ย
          2. วิธีการใช้ ใช้รองก้นหลุม คลุกดินก้นหลุมก่อนปลูก โรยรอบโคนต้น โรยเป็นแถวข้างต้น หว่านบนดินไถ หว่านหลังแล้วปลูก ผสมคลุกเคล้ากับปุ๋ยเคมีหว่านไปพร้อมกัน โรยบนดินในกระถางปลูกไม้ผลหรือไม้กระถาง
          3. ผลของการใช้ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน (ในเนื้อพูมิชซัลเฟอร์) แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแพ้หนาวและร้อน (จากสังกะสี) แก้พืชซีด เขียงตองอ่อน (แก้โดยแมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี กำมะถัน) แก้พืชโตช้า (แก้โดยแคลเซียมช่วยการแบ่งเซลล์, ซัลเฟตช่วยสร้างกรดอมิโน แอซิด) ฯลฯ
          4. ผลดีในไม้ผล จะช่วย ลดโรคและแมลง, ระบบรากดี, เนื้อแน่นสีสวย, กลิ่นดี, เนื้อกรอบอร่อยขึ้น และลดไส้ซึม แฉะ เป็นปลาร้า ในไม้ผลบางชนิด
          5. ในพืชผัก ลดโรคและแมลงศัตรูผัก, รากมากโตเร็ว, ใบสีเขียวสด, กรอบอร่อย, หลังเก็บเกี่ยวจากแปลงปลูกจะเก็บผักไว้ได้ทนนานไม่เหี่ยวง่าย, ยกเกรดผักที่ส่งขาย
          6. ผลดีในพืชหัวต่าง ๆ เช่น ขนาดของหัวใหญ่ขึ้นเพราะดินร่วนซุย, เก็บน้ำสำรองในดินมากขึ้น, แร่ธาตุปุ๋ยมากขึ้น เห็ดรามัยคอร์ไรซ่าทำงานดีขึ้น, ช่วยให้หัวมันเจริญเติบโตดี, พูมิชซัลเฟอร์ช่วยให้ใบอยู่ติดต้นนานสร้างอาหารได้มากขึ้น
          7. ในอ้อยและข้าวโพด ช่วยให้ใบตั้งรับแดดดี เปลือกและลำต้นแข็ง ลดโรคและแมลงได้ดี เพิ่มซีซีเอสในน้ำอ้อย ผลผลิตรวมเพิ่มเพราะรากออกรอบข้อได้ดีมากและลงลึก ดูดปุ๋ยและน้ำได้มาก
          8. ปาล์ม ยาง ไม้ผล ไม้ยืนต้น ดินซึมน้ำได้ดี พืชแข็งแรง มีผลผลิตดีขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ
          9. ไม้ดอกไม้ประดับ ลดโรคแมลง ก้านดอกก้านใบแข็งแรงทนทาน ทนต่อการขนส่ง ไม้ดอก-ไม้ใบมีดอกและใบสีเข้มสวย
          10. พืชไร่ ไถพรวนเบาแรงเพราะดินซุย โรคแมลงน้อย ต้นทุนการผลิตน้อย ผลผลิตเพิ่มขึ้น
          11. ไม้กระถาง ดินร่วนซุย น้ำไม่ขัง ลดโรค แมลง ไม่ต้องเปลี่ยนดินบ่อย
          12. ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ รากลึก ยาว รากมาก ผลผลิตสูงทุกด้าน
          13. เครื่องเทศสมุนไพร เนื้อยาเพิ่มขึ้น ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น
อัตราการใช้
          ใช้ภูพูมิชซัลเฟอร์หว่านรองพื้นใช้อัตรา 40-80 กิโลกรัม/ไร่ แล้วไถกลบ ในกรณีที่ใช้พูมิชซัลเฟอร์ปรับปรุง pH ดินก่อนปลูกพืช ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า pH ที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชทุกชนิดอยู่ที่ pH ระหว่าง 5.8-6.5 ที่ระดับค่า pH ที่กล่าวมานี้พืชสามารถดูดลำเลียงธาตุอาหารไม่ว่าจะเป็นธาตุอาหารหลัก, ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม (จุลธาตุ) ที่พืชต้องการไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินตรึงธาตุอาหารไว้ โดยทำการตรวจ pH ดินในพื้นที่หรือแปลงเพาะปลูกว่าอยู่ที่ระดับ pH เท่าไหร่ ถ้า pH ต่ำกว่า 5.8 ให้ใช้หินฟอสเฟต (ร็อคฟอสเฟต) ปรับเพิ่มค่า pH ขึ้นมา แต่ถ้าตรวจแล้ว pH สูงกว่า 6.5 ไม่มากนัก ก็ให้ใช้พูมิชซัลเฟอร์กระสอบเหลือง pH 6.5 ปรับลงมา แต่ถ้า pH สูงมาก คือสูงกว่า 8.0 ให้ใช้ ภูไมท์ซัลเฟตกระสอบแดง pH 4.5 ปรับปรุงให้ค่า pH ลดต่ำลงมาอยู่ในระดับพอเหมาะกับการเพาะปลูก
รายละเีอียด:
ZEO PLATINUM พูมิชซัลเฟอร์ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแแพ้หนาวและร้อน แก้พืชซีด เขียวตองอ่อน แก้พืชโตช้า ฯลฯ
กระสอบสีแดง PH.4.5 ใช้ในการปรับปรุงสภาพดินแก้ดินด่างตั้งแต่ ph 7 ขึ้นไป กระสอบเหลืองใช้แก้ดินกรด PH.6.5

ขนาดบรรจุ 20 กิโลกรัม/กระสอบ
         1. ส่วนประกอบ ประกอบด้วยหินแร่ภูเขาไฟ ซีโอไลท์ 50%  ซัลเฟต 7% แคลเซียม 12% ฟอสฟอริกแอซิด 0.20% แมกนีเซียม 0.01% เหล็ก 0.01% สังกะสี 0.005% pH 6.5 ที่เหลือเป็นวัตถุปุ๋ย
          2. วิธีการใช้ ใช้รองก้นหลุม คลุกดินก้นหลุมก่อนปลูก โรยรอบโคนต้น โรยเป็นแถวข้างต้น หว่านบนดินไถ หว่านหลังแล้วปลูก ผสมคลุกเคล้ากับปุ๋ยเคมีหว่านไปพร้อมกัน โรยบนดินในกระถางปลูกไม้ผลหรือไม้กระถาง
          3. ผลของการใช้ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน (ในเนื้อพูมิชซัลเฟอร์) แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแพ้หนาวและร้อน (จากสังกะสี) แก้พืชซีด เขียงตองอ่อน (แก้โดยแมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี กำมะถัน) แก้พืชโตช้า (แก้โดยแคลเซียมช่วยการแบ่งเซลล์, ซัลเฟตช่วยสร้างกรดอมิโน แอซิด) ฯลฯ
          4. ผลดีในไม้ผล จะช่วย ลดโรคและแมลง, ระบบรากดี, เนื้อแน่นสีสวย, กลิ่นดี, เนื้อกรอบอร่อยขึ้น และลดไส้ซึม แฉะ เป็นปลาร้า ในไม้ผลบางชนิด
          5. ในพืชผัก ลดโรคและแมลงศัตรูผัก, รากมากโตเร็ว, ใบสีเขียวสด, กรอบอร่อย, หลังเก็บเกี่ยวจากแปลงปลูกจะเก็บผักไว้ได้ทนนานไม่เหี่ยวง่าย, ยกเกรดผักที่ส่งขาย
          6. ผลดีในพืชหัวต่าง ๆ เช่น ขนาดของหัวใหญ่ขึ้นเพราะดินร่วนซุย, เก็บน้ำสำรองในดินมากขึ้น, แร่ธาตุปุ๋ยมากขึ้น เห็ดรามัยคอร์ไรซ่าทำงานดีขึ้น, ช่วยให้หัวมันเจริญเติบโตดี, พูมิชซัลเฟอร์ช่วยให้ใบอยู่ติดต้นนานสร้างอาหารได้มากขึ้น
          7. ในอ้อยและข้าวโพด ช่วยให้ใบตั้งรับแดดดี เปลือกและลำต้นแข็ง ลดโรคและแมลงได้ดี เพิ่มซีซีเอสในน้ำอ้อย ผลผลิตรวมเพิ่มเพราะรากออกรอบข้อได้ดีมากและลงลึก ดูดปุ๋ยและน้ำได้มาก
          8. ปาล์ม ยาง ไม้ผล ไม้ยืนต้น ดินซึมน้ำได้ดี พืชแข็งแรง มีผลผลิตดีขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ
          9. ไม้ดอกไม้ประดับ ลดโรคแมลง ก้านดอกก้านใบแข็งแรงทนทาน ทนต่อการขนส่ง ไม้ดอก-ไม้ใบมีดอกและใบสีเข้มสวย
          10. พืชไร่ ไถพรวนเบาแรงเพราะดินซุย โรคแมลงน้อย ต้นทุนการผลิตน้อย ผลผลิตเพิ่มขึ้น
          11. ไม้กระถาง ดินร่วนซุย น้ำไม่ขัง ลดโรค แมลง ไม่ต้องเปลี่ยนดินบ่อย
          12. ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ รากลึก ยาว รากมาก ผลผลิตสูงทุกด้าน
          13. เครื่องเทศสมุนไพร เนื้อยาเพิ่มขึ้น ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น
อัตราการใช้
          ใช้ภูพูมิชซัลเฟอร์หว่านรองพื้นใช้อัตรา 40-80 กิโลกรัม/ไร่ แล้วไถกลบ ในกรณีที่ใช้พูมิชซัลเฟอร์ปรับปรุง pH ดินก่อนปลูกพืช ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า pH ที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชทุกชนิดอยู่ที่ pH ระหว่าง 5.8-6.5 ที่ระดับค่า pH ที่กล่าวมานี้พืชสามารถดูดลำเลียงธาตุอาหารไม่ว่าจะเป็นธาตุอาหารหลัก, ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม (จุลธาตุ) ที่พืชต้องการไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินตรึงธาตุอาหารไว้ โดยทำการตรวจ pH ดินในพื้นที่หรือแปลงเพาะปลูกว่าอยู่ที่ระดับ pH เท่าไหร่ ถ้า pH ต่ำกว่า 5.8 ให้ใช้หินฟอสเฟต (ร็อคฟอสเฟต) ปรับเพิ่มค่า pH ขึ้นมา แต่ถ้าตรวจแล้ว pH สูงกว่า 6.5 ไม่มากนัก ก็ให้ใช้พูมิชซัลเฟอร์กระสอบเหลือง pH 6.5 ปรับลงมา แต่ถ้า pH สูงมาก คือสูงกว่า 8.0 ให้ใช้ ภูไมท์ซัลเฟตกระสอบแดง pH 4.5 ปรับปรุงให้ค่า pH ลดต่ำลงมาอยู่ในระดับพอเหมาะกับการเพาะปลูก
อัตราการใช้
          ใช้ภูพูมิชซัลเฟอร์หว่านรองพื้นใช้อัตรา 40-80 กิโลกรัม/ไร่ แล้วไถกลบ ในกรณีที่ใช้พูมิชซัลเฟอร์ปรับปรุง pH ดินก่อนปลูกพืช ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า pH ที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชทุกชนิดอยู่ที่ pH ระหว่าง 5.8-6.5 ที่ระดับค่า pH ที่กล่าวมานี้พืชสามารถดูดลำเลียงธาตุอาหารไม่ว่าจะเป็นธาตุอาหารหลัก, ธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริม (จุลธาตุ) ที่พืชต้องการไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่มีค่าความเป็นกรด-ด่างของดินตรึงธาตุอาหารไว้ โดยทำการตรวจ pH ดินในพื้นที่หรือแปลงเพาะปลูกว่าอยู่ที่ระดับ pH เท่าไหร่ ถ้า pH ต่ำกว่า 5.8 ให้ใช้หินฟอสเฟต (ร็อคฟอสเฟต) ปรับเพิ่มค่า pH ขึ้นมา แต่ถ้าตรวจแล้ว pH สูงกว่า 6.5 ไม่มากนัก ก็ให้ใช้พูมิชซัลเฟอร์กระสอบเหลือง pH 6.5 ปรับลงมา แต่ถ้า pH สูงมาก คือสูงกว่า 8.0 ให้ใช้ ภูไมท์ซัลเฟตกระสอบแดง pH 4.5 ปรับปรุงให้ค่า pH ลดต่ำลงมาอยู่ในระดับพอเหมาะกับการเพาะปลูก


ที่มา  ชมรมเกษตรปลอดสาร
ZEO PLATINUM พูมิชซัลเฟอร์ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแแพ้หนาวและร้อน แก้พืชซีด เขียวตองอ่อน แก้พืชโตช้า ฯลฯ
กระสอบสีแดง PH.4.5 ใช้ในการปรับปรุงสภาพดินแก้ดินด่างตั้งแต่ ph 7 ขึ้นไป กระสอบเหลืองใช้แก้ดินกรด PH.6.5

ขนาดบรรจุ 20 กิโลกรัม/กระสอบ
         1. ส่วนประกอบ ประกอบด้วยหินแร่ภูเขาไฟ ซีโอไลท์ 50%  ซัลเฟต 7% แคลเซียม 12% ฟอสฟอริกแอซิด 0.20% แมกนีเซียม 0.01% เหล็ก 0.01% สังกะสี 0.005% pH 6.5 ที่เหลือเป็นวัตถุปุ๋ย
          2. วิธีการใช้ ใช้รองก้นหลุม คลุกดินก้นหลุมก่อนปลูก โรยรอบโคนต้น โรยเป็นแถวข้างต้น หว่านบนดินไถ หว่านหลังแล้วปลูก ผสมคลุกเคล้ากับปุ๋ยเคมีหว่านไปพร้อมกัน โรยบนดินในกระถางปลูกไม้ผลหรือไม้กระถาง
          3. ผลของการใช้ ช่วยทำให้ดินร่วนซุย ดินซึมผ่านน้ำได้ง่าย ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น แก้ดินที่เหนียวจัด แก้ดินดาน แก้ดินแน่นแข็ง ช่วยไล่เกลือออกจากเนื้อดิน ช่วยเพิ่มอากาศในดิน ช่วยอุ้มน้ำของดิน (ในเนื้อพูมิชซัลเฟอร์) แก้อาการขาดปูนและกำมะถันในพืช แก้พืชแพ้หนาวและร้อน (จากสังกะสี) แก้พืชซีด เขียงตองอ่อน (แก้โดยแมกนีเซียม เหล็ก สังกะสี กำมะถัน) แก้พืชโตช้า (แก้โดยแคลเซียมช่วยการแบ่งเซลล์, ซัลเฟตช่วยสร้างกรดอมิโน แอซิด) ฯลฯ
          4. ผลดีในไม้ผล จะช่วย ลดโรคและแมลง, ระบบรากดี, เนื้อแน่นสีสวย, กลิ่นดี, เนื้อกรอบอร่อยขึ้น และลดไส้ซึม แฉะ เป็นปลาร้า ในไม้ผลบางชนิด
          5. ในพืชผัก ลดโรคและแมลงศัตรูผัก, รากมากโตเร็ว, ใบสีเขียวสด, กรอบอร่อย, หลังเก็บเกี่ยวจากแปลงปลูกจะเก็บผักไว้ได้ทนนานไม่เหี่ยวง่าย, ยกเกรดผักที่ส่งขาย
          6. ผลดีในพืชหัวต่าง ๆ เช่น ขนาดของหัวใหญ่ขึ้นเพราะดินร่วนซุย, เก็บน้ำสำรองในดินมากขึ้น, แร่ธาตุปุ๋ยมากขึ้น เห็ดรามัยคอร์ไรซ่าทำงานดีขึ้น, ช่วยให้หัวมันเจริญเติบโตดี, พูมิชซัลเฟอร์ช่วยให้ใบอยู่ติดต้นนานสร้างอาหารได้มากขึ้น
          7. ในอ้อยและข้าวโพด ช่วยให้ใบตั้งรับแดดดี เปลือกและลำต้นแข็ง ลดโรคและแมลงได้ดี เพิ่มซีซีเอสในน้ำอ้อย ผลผลิตรวมเพิ่มเพราะรากออกรอบข้อได้ดีมากและลงลึก ดูดปุ๋ยและน้ำได้มาก
          8. ปาล์ม ยาง ไม้ผล ไม้ยืนต้น ดินซึมน้ำได้ดี พืชแข็งแรง มีผลผลิตดีขึ้นทั้งปริมาณและคุณภาพ
          9. ไม้ดอกไม้ประดับ ลดโรคแมลง ก้านดอกก้านใบแข็งแรงทนทาน ทนต่อการขนส่ง ไม้ดอก-ไม้ใบมีดอกและใบสีเข้มสวย
          10. พืชไร่ ไถพรวนเบาแรงเพราะดินซุย โรคแมลงน้อย ต้นทุนการผลิตน้อย ผลผลิตเพิ่มขึ้น
          11. ไม้กระถาง ดินร่วนซุย น้ำไม่ขัง ลดโรค แมลง ไม่ต้องเปลี่ยนดินบ่อย
          12. ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ รากลึก ยาว รากมาก ผลผลิตสูงทุกด้าน
          13. เครื่องเทศสมุนไพร เนื้อยาเพิ่มขึ้น ผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น

แก้ปัญหาไวรัส(ด่างวงแหวน) ขจัดโรคให้มะละกอ


โรคไวรัสด่างวงแหวน (ring spot)

ในอดีตประมาณปี 2548 มีผู้ประสบปัญหากับโรคนี้อย่างแพร่หลายมากมาย เพราะสื่อหนังสือพิมพ์ในช่วงนั้นช่วยกันโปรโมทส่งเสริมให้ผู้คนรู้จักและเกิดความต้องการปลูกมะละกอพันธุ์ฮอนแลนด์ เนื่องด้วยเป็นเรื่ิองแปลกใหม่พอๆกับการโหมประโคมข่าวให้ปลูกไม้โตเร็วอย่างเช่นเพาว์โลเนียและตะกูในไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีผู้สนใจและให้ความนิยมมะละกอชนิดนี้มากด้วยเช่นเดียวกัน จากที่มีผู้นิยมปลูกมะละกอพันธุ์ฮอนแลนด์จำนวนมากทำให้พื้นที่ภาคกลางแถบนครนายก, สุพรรณบุรี และอีกหลายจังหวัดใกล้เคียงมีต้นมะละกอเกิดขึ้นมากมาย ทำให้เมื่อเกิดโรคก็ระบาดแพร่กระจายไปยังจุดต่างๆได้ง่าย

การดูแลรักษาในยุคนั้นก็ดูจะยากลำบากอยู่พอควรเนื่องจากการสื่อสารยังโลว์เทคมาก ไม่มีสื่อที่เป็นโซเชียลเน็ทเวิร์คทั้ง twitter, Facebook, tango,hi5 และSkype อย่างในปัจจุบัน เกษตรกรส่วนใหญ่จึงมักจะได้รับข้อมมูลจากพนักงานขายเคมีเกษตรเพียงด้านเดียว กลุ่มเดียวว่าให้ใช้ยาตัวนั้นตัวนี้ทำการรักษา โดยหารู้ไม่ว่าโรคพืชที่เกิดจากไวรัสนั้น จริงๆแล้วไม่มียาใดๆรักษาให้หายขาดได้ เนื่องด้วยเป็นเชื้อวิสาที่มีอันตรายรุนแรงและการเจริญเติบโตที่รวดเร็วมีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศมากกว่าเชื้อราและแบคทีเรีย แพร่กระจายไปตามพาหะต่างๆได้หลายทางแม้กระทั่งสายลม ในส่วนของมะละกอนั้นพาหะที่นำพาเชื้อโรคเข้าสู่ไร่หรือแปลงของมะละกอมากที่สุดคือกลุ่มของแมลงปากดูดโดยเฉพาะเพลี้ยอ่อนเพลี้ยแป้งและเพลี้ยจั๊กจั่น กลุ่มของแมลงปากดูดเหล่านี้จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากมะละกอแล้วนำพาเชื้อไวรัสติดไปยังมะละกอต้นอื่นๆต่อได้


มะละกอที่ได้รับเชื้อไวัสด่างวงแหวนจะมีอาการต้นเตี้ยแคระแกร็น ใบหยิกงอไม่สมส่วน บางครั้งจะเล็กเรียวชะลูดแหลมเหมือนหางหนู ผลมะละกอที่ได้รับเชื้อก็จะมีสภาพเป็นช้ำเป็นวงๆเล็กบ้างใหญ่บ้างแตกต่างกันตามความรุนแรงและระยะเวลาของโรคที่เข้ามา วิธีการแก้ไขอย่างเร่งด่วนคือการขุดหรือถอนต้นที่มีอาการเริ่มแรกนำไปเผาและทำลายให้ห่างไกลจากพื้นที่ที่ทำการเพาะปลูก และอีกวิธีการหนึ่งซึ่งทางชมรมเกษตรปลอดสารพิษแนะนำให้เกษตรกรใช้มานานมากกว่า 10 ปีคือการใช้กลุ่มของหินแร่ภูเขาไฟ (พูมิช, พูมิชซัลเฟอร์) (ดีพร้อม ไชยวงศ์เกียรติ : นสพ. เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 20,842 วันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน 2549 หน้า 24)
ใส่ทางดินเพื่อให้มะละกอดูดกินขึ้นไปสะสมที่ผนังเซลล์ทำให้มีภูมิคุ้มกันมีความแข็งแรงคล้ายไก่ชนที่รับเชื้อไข้หวัดนก H5N1 แล้วไม่แสดงอาการสามารถที่จะมีชีวิตอยู่รอดได้อย่างสบาย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 0-2986-1680-2

 มนตรี บุญจรัส

โรครากเน่า โคนเน่าใน มะละกอ

โรครากเน่าโคนเน่าในการปลูกมะละกอให้ทราบกัน โดยปกติแล้วมะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลำต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ำยางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสีดำเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้ โดยประโยชน์ของมะละกอนั้นคือ นอกจากการนำมะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ แกงส้ม เป็นต้น หรือนำไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พาเพน (Papain) ซึ่งสามารถนำเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสำเร็จรูป บางครั้งนำไปทำเป็นยาช่วยย่อยสำหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้ โดยผู้ที่ปลูกไว้เพื่อการค้านั้นจะประสบกับปัญหาของโรครากเน่าโคนเน่ากันมากสาเหตุก็เพราะปลูกกันมานานซ้ำๆที่เดิมๆจึงเป็นแหล่งเชื้อราของโรครากเน่าโคนเน่านั่นเอง โดยโรครากเน่าและโคนเน่านั้นเกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum และ Phytophthora palmivora เกิดได้ทุกระยะการเจริญของมะละกอ ในระยะกล้า จะเกิดอาการเน่าคอดิน คือรากเน่า ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองต้นมักจะหักพับตรงโคนและเหี่ยวตายอย่างรวดเร็ว สำหรับต้นที่โตแล้ว จะแสดงอาการโคนเน่า เป็นสีน้ำตาลถึงดำ ลักษณะฉ่ำน้ำ เนื้อเยื่อบริเวณที่เน่าจะยุบตัวลงเล็กน้อย ต่อมารากจะเน่า ใบจะเหลืองและร่วงหล่น ทำให้ยืนต้นตายไปภายใน 2-3วัน โดยเชื้อรานี้สมารถระบาดไปกับดินและน้ำ โดยเฉพาะช่วงที่มีฝนตกชุกในช่วงนี้ เกษตรกรผู้ที่ปลูกมะละกออยู่ตอนนี้ก็ต้องหมั่นดูแลเรื่องดินอย่าให้น้ำขังและดินจะต้องร่วยซุยระบายน้ำดีก็จะลดการเกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้ระดับหนึ่งครับ

เรื่องนี้เป็นเรื่องที่เกิดกับสวนมะละกอของผู้เขียนเองครับ โดยมีพื้นที่อยู่บางส่วนที่เป็นที่ลุ่มมักจะมีน้ำขังเวลาฝนตกหนัก ๆ จะทำให้มะละกอ ใบเหลือง เพราะรากมะละกอขาดออกซิเจน แต่ไม่ถึงกับตาย เมื่อน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน ๆ ทำให้มะละกอต้องทิ้งใบเป็นจำนวนมากเพื่อรักษาตัวเองไว้ และเกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ที่มีปัญหาหลัก ๆ เลยก็คือ เชื้อราไฟธ็อปทอรา เข้าทำลายระบบราก ทำให้รากมะละกอ เน่าและเปื่อยยุ่ย ผู้เขียนจึงแก้ไขโดยใช้ไตรโคเดอร์ม่า 2 กิโลกรัม ผสมกับพูมิช-ซัลเฟอร์ 1 กระสอบ (20 กิโลกรัม) แล้วนำไปโรยรอบโคนต้นมะละกอที่เป็นโรค อัตราต้นละ 1 กำมือ จากนั้นก็นำไตรโคเดอร์ม่ามาหมัก โดยใช้น้ำ 20 ลิตร กากน้ำตาล 1 ลิตร ไตรโคเดอร์ม่า 2 ช้อนแกง หมักไว้ 8 ชั่วโมง หลังจากหมัก 8 ชั่วโมงแล้ว ก็นำไตรโคเดอร์ม่าที่หมักไว้ มาผสมน้ำอีก 180 ลิตร รวมเป็น 200 ลิตรใส่จุลินทรีย์หน่อกล้วย 5 ลิตร แล้วนำไปฉีดที่โคนต้นมะละกอให้ชุ่ม  เพื่อกำจัดเชื้อราไฟธ็อปทอราในโคนต้นมะละกอให้หมดไป
หลังจากนั้น 7 วันก็รักษาโดยใช้วิธีเดียวกันนี้อีกครั้ง เมื่อครบ 7 วันที่หลังจากใส่พูมิช-ซัลเฟอร์ และไตรโคเดอร์ม่า จะพบว่ามีรากมะละกอขนาดเล็กจำนวนมากที่เกิดใหม่บริเวณโคนต้นมะละกอรวมทั้งแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อราไฟธ็อปทอรา ก็หายเป็นปกติ สำหรับต้นที่อาการหนัก ๆ ถึงขั้นใบกุด หรือใบไม่มีแล้วก็จะแตกยอดอ่อนขึ้นมา และจะแตกรากใหม่ประมาณ 2 สัปดาห์ และให้ทำเหมือนวิธีข้างต้นนี้ จำนวน 3 ครั้งเว้นระยะห่างกันแต่ละครั้ง ๆ ละ 7 วัน ก็จะสามารถควบคุมโรครากเน่าในมะละกอได้แล้วครับ
วิธีการป้องกัน
ถ้ามีฝนตกติดต่อกันหลายวันก็ให้ใช้วิธีที่ผู้เขียนได้กล่าวมาข้างต้นนี้ได้เลยครับ รับรองว่ามะละกอจะไม่เหี่ยวจะไม่มีปัญหาเรื่องโรครากเน่าโคนเน่ามากวนใจอีกต่อไปครับ เห็นไหมล่ะครับว่า ทุกปัญหามีทางแก้ไขและก็ต้องแก้ให้ถูกต้องแล้วก็ถูกวิธีด้วยครับ ผู้เขียนมีภาพการรักษาโรครากเน่าโคนเน่าในมะละกอนะครับ

papaya1_20101011.gif
ภาพการใส่พูมิช-ซัลเฟอร์ร่วมกับไตรโคเดอร์ม่า
papaya2_20101011.gif

ภาพการฉีดสเปรย์เชื้อราโตรโคเดอร์ม่าที่หมัก โดยฉีดใส่โคนมะละกอให้ชุ่มมากที่สุด

ขอบคุณข้อมูลจาก
เขียนและรายงานโดย นายนิรุธ อาศัย (นักวิชาการ)
 ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ www.thaigreenagro.com
 081-6929660 (นิรุธ อาศัย)

ลักษณะอาการ "โรคไวรัสวงแหวนมะละกอ"

ดังที่ทราบกันทั่วไปว่าโรคอันตรายที่สุดของมะละกอคือไวรัสวงแหวน PRSV แต่จากการสำรวจแหล่งปลูกมะละกอทั่วไทยเมื่อปี  พ.ศ.2551-52 ของสำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัยโดยการให้ทุนวิจัยแก่นักวิจัยของมหาวิทยาลัยต่างๆทั่วประเทศที่เป็นแหล่งปลูกมะละกอสำคัญปรากฏว่ามีชาวสวนมะละกออีกเป็นจำนวนมากที่ไม่รู้จักโรค ไวรัสวงแหวนมะละกอŽ เช่นเดียวกับชาวสวนผู้ที่ปลูกมะละกอมืออาชีพอีกจำนวนมากที่ยังไม่ชัดเจนเกี่ยวกับอาการของโรคนี้ ตัวผมเองได้ปลูกมะละกอติดต่อกันมาหลายรุ่นและได้เก็บรายละเอียดลักษณะอาการของโรคนี้ทั้งที่สวนของตัวเองและที่สวนของเพื่อนสมาชิก ที่มีโอกาสไปเยี่ยมในหลายๆพื้นที่ ขณะเดียว กันได้ส่งตัวอย่างมะละกอที่ปรากฏอาการไปให้คลินิกพืชของกรมวิชาการเกษตรทำการตรวจวิเคราะห์ซึ่งในครั้งล่าสุดเมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมาได้ส่งตัวอย่างไปให้คลินิกพืช 3 ตัวอย่าง ขณะเดียวกันก็ส่งไปที่ภาควิชาโรคพืช  ม.เกษตรศาสตร์  ดร.ศรีเมฆ  ชาวโพงพางเช่นเดียวกัน ปรากฏว่าทั้งสามตัวอย่างเป็นไวรัสวงแหวนทั้งหมดเพียงแต่ระดับความรุนแรงต่างกัน  ในส่วนของคลินิกพืชของกรมวิชาการเกษตรคุณวันเพ็ญ ศรีทองชัย นักวิจัยไวรัสได้ใช้เครื่องมือตรวจเชื้อไวรัสมะละกอแบบรวดเร็วคือ Glift Kit ซึ่งถือว่าเป็นความก้าวหน้าที่น่าดีใจเพราะ  Glift Kit ที่ว่านี้สามารถนำไปใช้ในแปลงที่ไหนก็ได้ทำให้สะดวกและรวดเร็วในการวินิจฉัยโรคโดยเฉพาะในต้นกล้าหรือต้นในแปลงที่ยังไม่แสดงอาการเมื่อตรวจพบก็สามารถถอนออกไปทำลายได้ทันท่วงที  ลองพิจารณาภาพโรคชนิดนี้ที่ได้เก็บบันทึกจากที่ปลูกไว้ในหลายๆรุ่นและในหลากหลายสายพันธุ์


ประเด็นใหญ่ของการระบาดของโรคไวรัสมะละกอในบ้านเราที่รุนแรงและกว้างขวางยิ่งขึ้นเรื่อยๆก็เพราะเราไม่มีระบบควบคุมเพื่อตัดวงจรโรคประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งก็คือชาวสวนที่ปลูกมะละกอแขกนวลหรือแขกดำเพื่อขายเป็นมะละกอส้มตำยังนิยมปลูกในสวนส้มเก่าโดยเฉพาะการเช่าพื้นที่ซึ่งจะเน้นทำมะละกอคอเดียวแล้วทิ้งย้ายที่ไปที่อื่น  ดังนั้นมะละกอที่ปลูกเพื่อเก็บขายดิบเป็นมะละกอส้มตำแม้ต้นจะเริ่มแสดงอาการโรคไวรัสวงแหวนก็ยังเลี้ยงต้นเพื่อเก็บผลผลิตต่อไปจนวาระสุดท้ายก่อนจะย้ายถิ่นใหม่ โรคไวรัสวงแหวนจึงขยายวงกว้างออกไปเรื่อยๆ โดยเฉพาะหากมีการเก็บเมล็ดจากต้นที่เป็นโรคฯก็จะยิ่งทำให้การแพร่ระบาดของโรคขยายวงกว้างไปเป็นลำดับและยากที่จะหยุดยั้ง





เรื่องของมะละกอพืชที่ทำให้ดีได้ยากแต่มีหลายประเทศที่ปลูกได้ดีแม้ยังใช้สายพันธุ์ที่ไม่ใช่จีเอ็มโอเช่นไต้หวันเป็นต้น  เมื่อเดือนที่แล้วทราบว่าชาวสวนรายหนึ่งที่ไต้หวันแอบนำเมล็ดมะละกอจีเอ็มโอไปปลูกทางการไปตรวจพบถูกปรับไปล้านกว่าเอ็นทีก็ล้านกว่าบาท กฎหมายเขาเข้ม งานวิจัยเขาก็เข้ม ความยากก็กลายเป็นไม่ยากครับ ดังนั้นเมื่อพบต้นที่แสดงอาการเกิดโรคใหม่ในพื้นที่เหล่านั้นก็ต้องรีบทำลายทันที รวมทั้งการระวังแหล่งที่มาของเมล็ดพันธุ์ ตลอดจนการเพาะกล้าให้สามารถป้องกันแมลงพาหะ โดยเฉพาะเพลี้ยอ่อนได้ด้วย

ข้อมูลจากโดย เปรม ณ สงขลา  วารสารเคหการเกษตร